นวัตกรรมในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม

(ศูนย์ศัลยกรรมกระดูกและข้อ) ผู้เขียนบทความ : นายแพทย์ สิริเอก คงแสงดาว

นวัตกรรมในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม

นวัตกรรมในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม

โรคข้อเข่าเสือม ซึงเกิดจากอายุที่เพิ่มขึน ทำให้เกิดการอักเสบของเยือหุ้มข้อ และกระดูกอ่อน

ทำให้เกิดการเสือมสภาพของกระดูกอ่อน ที่จากเดิม เรียบลืน มีความยืดหยุ่นดี กลายเป็นขรุขระแข็ง

เมือมีการเสียดสีกันบ่อยๆ ก็ทำให้มีอาการปวดเกิดขึน จนนานวันเข้า ข้อเริ่มไม่มั่นคง ทำให้เริ่มมีกระดูกงอก และเข่าเริ่มผิดรูปไป

อาการทีพบได้คือ

  • เดินแล้วเข่ามีเสียงดัง
  • เข่าค่อยๆโก่งผิดรูป
  • นังยอง ขัดสมาธิ คุกเข่า ไม่ได้
  • เดินเยอะๆแล้วปวดเดินแล้วเข่ามาเสียงดัง
  • ปวดเข่าเปนๆหายๆ
  • เดินลำบาก นังไม่ได้

เคยมีอาการตามนีไหม

 เราจะมาแนะนำให้รู้จัก โรคข้อเข่าเสือมกัน ให้มากขึนครับในปจจุบัน มีเทคโนโลยีทางการแพทย์ เจริญก้าวหน้าไปมาก

สังเกตได้ว่าคนอายุยืนขึน จนเราอาจจะได้ยินคำว่า "สังคมผสูู้งอายุ" บ่อยขึ

ซึงเมือเราอายุมากขึน นอกจากประสบการณ์ชีวิตที่เพิ่มขึน สิ่งที่แลกมาคือ ร่างกายที่มีอาการเสือมสภาพตามวัย

การรักษา

เบืองต้นการรักษาจะแนะนำให้เริมต้นที่การปรับlife styleก่อน เช่น

  • ลดน้ำหนัก
  • ออกกำลังกายกล้ามเนือต้นขา
  • หลีกเลียงท่านังทีต้องงอเข่ามากๆเปนเวลานาน เช่น ขัดสมาธิ นังยอง พับเพียบ

ถ้าทำแล้วอาการไม่ดีขึน ยังปวดมาก

การรักษาขันต่อมาคือ

1.กินยาลดอาการอักเสบเมือมีอาากรปวด แต่เมือไม่มีอาการปวดก็แนะนำให้หยุดยาครับ ไม่ควรกินต่อเนืองกันนาน

2.ฉีดยาเข้าข้อเข่า ซึงมีอยู่3แบบ

  • ฉีดสเตียรอยด์ ซึงช่วยลดอาการอักเสบของข้อเข่าได้ดี แต่ไม่สามารถกระตุ้นการฟื้นฟูของผิวข้อ

ได้ นอกจากนีการใช้ระยะยาว อาจทำให้ผิวกระดูกออกบางลงได้

  • ฉีดน้ำขข้อเทียม ซึงช่วยลดการอักเสบ และลดการเสียดสีของข้อได้
  • ฉีด ACP (autologousconditional plasma) ซึงแนะนำในข้อเข่าเสือมระยะแรกถึงปานกลาง ซึงจะช่วยลดการอักเสบข้อเยือหุ้มข้อ และกระตุ้นการฟื้นฟูของกระดูกอ่อนผิวข้อได้

3.ผ่าตัดเปลียนข้อเข่าซึงวิธีนี้แนะนำในผู้ปวยที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีข้างต้นแล้วอาการไม่ดีขึน ยังปวดมากอยู่ หรือมีปญหาในการใช้ชีวิตประจำวันมาก การผ่าตัดเปลียนข้อเข่าเทียมจะช่วยแก้ปญหาได้ดีกว่ามาก ในเทคโนโลยีปจจุบัน ข้อเข่าเทียมสามารถให้ได้ยาวนานขึนถึง20ปแล้ว ซึ่งดีกว่าสมัยก่อนมากแต่ยังไงก็ยังแนะนำให้ผ่าตัดทีอายุ60-65ปีขึนไปครับ เพือลดโอกาสในการผ่าตัดรอบสองครับ

ACP คืออะไร

ACP (autologousconditional plasma)

ACP คือการนำเลือดของคนไข้ มาทำการปั่นคัดแยกส่วนประกอบของเลือด โดยคัดแยกเอาสารที่มีผลต่อการซ่อมแซมและฟื้นฟูการบาดเจ็บของร่างกาย โดยจะมีGrowth factor ที่ช่วยกระตุ้นให้เนือเยือทที่บาดเจ็บ เกิดการฟื้นฟูตามธรรมชาติ และลดอาการอักเสบได้

เนืองจาก ACP เปนสารทที่นำมาจากร่างกายตัวเอง จึงทำให้

  • ไม่มีสารตกค้างในร่างกาย
  • กระตุ้นกระบวมการฟื้นฟูตามธรรมชาติอย่างต่อเนือง

 

โดยการฉีดACP นัน ส่วนใหญ่ผู้รับบริการมักจะรู้สึกดีขึนตังแต่การฉีดในครั้งแรก และจะเห็นผลการรักษา

ชัดขึนเรือยๆในแต่ละครั้ง การฉีดACP จึงเปนหนึงในทางเลือกที่เปนประโยชน์กับคนไข้ เพือช่วยรักษาข้อเข่าเสือมได้

 

รักษาตัวเอง...ด้วยตัวเอง ACP





doctor icon
แนะนำแพทย์ ประจำศูนย์

icon-articleบทความประจำศูนย์

ดูทั้งหมด
เมื่อลูกน้อย...เท้าบิดหมุนเข้าใน_2

เมื่อลูกน้อย...เท้าบิดหมุนเข้าใน

เด็กที่เดินแล้วมีปลายเท้าชี้เข้าหากัน เกิดจากการบิดหมุนของขาตั้งแต่สะโพกลงมา มีลักษณะการเดินผิดปกติและปัญหาเรื่องความสวยงามของขาที่ผิดรูป การตัดรองเท้าอาจพิจารณาในรายที่เป็นมากจนเท้าสะดุดกันเองเวลาวิ่ง เด็กที่มีเท้าบิดหมุนเข้าใน เด็กที่เดินแล้วมีปลายเท้าชี้เข้าหากันเกิดจากการบิดหมุนของขาตั้งแต่สะโพกลงมา แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ต้นขา หน้าแข้ง และเท้า แต่ละส่วนมีแนวทางการตรวจติดตาม และรักษา แตกต่างกันเล็กน้อย การบิดหมุนของส่วนต้นขา พบมากที่สุด ส่วนใหญ่จะหายได้เอง ก่อนอายุ 10 ปี การดัดและการตัดรองเท้า ไม่ช่วยในการหาย พยายามเลี่ยงการนั่งในท่า W แต่ไม่จำเป็นต้องให้นั่งขัดสมาธิ ในเด็กที่ทำไม่ได้ อาจให้นั่งเหยียดขาแทนเวลานั่งพื้น การตัดรองเท้าอาจพิจารณาในรายที่เป็นมากจนเท้าสะดุดกันเองเวลาวิ่ง การผ่าตัดอาจไม่จำเป็นถ้าไม่มีปัญหาในการดำรงชีวิต และหากจะทำควรทำเมื่อเด็กโตมากแล้ว การบิดหมุนของหน้าแข้ง พบได้น้อยเมื่อเทียบกับบริเวณอื่น ส่วนใหญ่จะหายเองก่อนอายุ 4 ปี การรักษาเบื้องต้นเพียงติดตามอาการเท่านั้น การผ่าตัดอาจไม่จำเป็นถ้าไม่มีปัญหาในการดำรงชีวิต และหากจะทำควรทำเมื่อเด็กโตมากแล้ว การบิดหมุนที่เท้า พบได้ค่อนข้างบ่อย สังเกตได้จากเท้าจะโค้งคล้ายกล้วย ถ้าสามารถดัดได้ง่าย โอกาสหายเองสูง ถ้าดัดได้ยากอาจพิจารณาใส่เฝือกหรือตัดรองเท้าช่วย ส่วนใหญ่หายเองก่อน 4 ขวบ ในกรณีที่ยังเป็นจนโต อาจพิจารณาผ่าตัดในรายที่มีปัญหาการใส่รองเท้า และกังวลเรื่องความสวยงาม
อ่านต่อ